ประเพณีปอยส่างลอง(บวชลูกแก้ว)

พิธีบวชเณรตามความเชื่อของชาวไทยใหญ่ที่เชื่อว่าได้รับอานิสงฆ์มากกว่าการบวชพระโดยการจัดงานประเพณีปอยส่างลองรายละเอียด ดังนี้
วันแรกเรียกว่า “วันรับส่างลอง”โดยในตอนเช้าเจ้าภาพจะนำบรรดาเด็กชายมาเข้าพิธีโกนผมแต่ไม่โกนคิ้ว สวมชุดส่างลองอย่าง เสร็จแล้วนำเด็กน้อยซึ่งตอนนี้เรียกว่า ส่างลอง ไปตามวัดต่างๆ เพื่อรับศีลรับพรและไปตามบ้านญาติผู้ใหญ่ที่นับถือวันที่สองเรียกว่า “วันแห่ครัวหลู่” มีการแห่สางลองกับเครื่องไทยทานจากวัดม่วยต่อไปตามถนนสายต่างๆ จะมีผู้เข้าร่วมขบวนแห่เป็นจำนวนมาก โดยจะให้ส่างลองขี่คอคน ซึ่งเรียกว่าพี่เลี้ยงหรือ “ตะแปส่างลอง” มีกลดทอง หรือ “ ทีคำ” แบบพม่ากันแดด วันที่สาม เรียกว่า “วันข่ามส่าง” เป็นวันบรรพชาสามเณรโดยการแห่ส่างลอง ไปที่วัดเพื่อทำพิธีบวช

วันและเวลาทำการ

ที่อยู่

แม่ฮ่องสอน Thailand

แผนที่

Google Maps

ค่าเข้าชม

ช่องทางติดต่อ

พิธีบวชเณรตามความเชื่อของชาวไทยใหญ่ที่เชื่อว่าได้รับอานิสงฆ์มากกว่าการบวชพระโดยการจัดงานประเพณีปอยส่างลองรายละเอียด ดังนี้
วันแรกเรียกว่า “วันรับส่างลอง”โดยในตอนเช้าเจ้าภาพจะนำบรรดาเด็กชายมาเข้าพิธีโกนผมแต่ไม่โกนคิ้ว สวมชุดส่างลองอย่าง เสร็จแล้วนำเด็กน้อยซึ่งตอนนี้เรียกว่า ส่างลอง ไปตามวัดต่างๆ เพื่อรับศีลรับพรและไปตามบ้านญาติผู้ใหญ่ที่นับถือวันที่สองเรียกว่า “วันแห่ครัวหลู่” มีการแห่สางลองกับเครื่องไทยทานจากวัดม่วยต่อไปตามถนนสายต่างๆ จะมีผู้เข้าร่วมขบวนแห่เป็นจำนวนมาก โดยจะให้ส่างลองขี่คอคน ซึ่งเรียกว่าพี่เลี้ยงหรือ “ตะแปส่างลอง” มีกลดทอง หรือ “ ทีคำ” แบบพม่ากันแดด วันที่สาม เรียกว่า “วันข่ามส่าง” เป็นวันบรรพชาสามเณรโดยการแห่ส่างลอง ไปที่วัดเพื่อทำพิธีบวช

วันและเวลาทำการ

ที่อยู่

แม่ฮ่องสอน Thailand

แผนที่

Google Maps

ค่าเข้าชม

ช่องทางติดต่อ

เว็บไซต์นี้มีการใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้และ นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า